อโกลนีมา หรือแก้วกาญจนา ต้นไม้ ม ง ค ล ที่ขึ้นชื่อ หลายคนปลูกไม้สำเร็จ วันนี้เรานำวิธีการปลูก และขยายพันธ์มาฝากทุกคนครับ บอกเลยว่าต้นไม้ ม ง ค ล ชนิดนี้ ยิ่งมีเยอะยิ่ง ร ว ย
อโกลนีมา ถือว่าเป็นราชาแห่งไม้ประดับ เป็นที่นิยมปลูกกันอย่างแพร่หลาย ณ ปัจจุบัน โดยเจ้าต้นอโกลนีมานี้มีลักษณะเป็นไม้พุ่มที่มีความสวยงาม ขนาดเล็ก กระทัดรัด ใบมีสี และลวดลายที่หลากหลาย อีกอย่างเป็นไม้ประดับที่ไม่มีวันโรยราไปไหน มีชื่อที่เป็น ม ง ค ล เช่น อัญมณี, สยามออรอล่า, เพชรน้ำหนึ่ง, สุขสมใจปอง เป็นต้น และยังคงที่มีการพัฒนาและปรับปรุงสาย พั น ธุ์ มาอย่างต่อเนื่อง ไม่เพียงแต่ความสวยงามของอโกลนีมาเท่านั้น แต่ความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนน็อกไซด์ และก๊าซพิษอื่น ๆ ได้ดีจึงเป็นเหมือนพืชที่ช่วยฟอกอากาศ อีกทั้งยังเป็นไม้ ม ง ค ล ที่ช่วยเสริมสิริ ม ง ค ล และให้ โ ช ค ลาภแก่ผู้ปลูกอีกด้วย
อโกลนีมา – เกร็ดมรกต
ลักษณะ
ใบมีสีเขียว ต้นไม้พุ่มขนาดเล็ก ใบ ใบเดี่ยว ค่อนข้างตั้งตรง รูปไข่กลับแคบ รูปไข่กลับ รูปขอบขนาน รูปรี ปลายแหลม อาจงุ้มลง โคนใบคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบหรือมีคลื่นเล็กน้อย ใบหนาคล้ายแผ่นหนัง เป็นร่องเล็กน้อย เกลี้ยง แผ่นใบสีเขียวเข้มสลับแถบสีเขียวปนเทาตามแนวเส้นใบตั้งแต่กลางใบจนถึงขอบใบ เส้นกลางใบสีเขียวเข้ม ใต้ใบสีเขียวเข้มตลอดทั้งใบ แต้มปนจุดสีเขียวอ่อน เส้นกลางใบด้านหลังสีเขียวอ่อน เส้นกลางใบนูนเด่นชัดบริเวณโคนและค่อยๆเล็กลงจนสุดปลายใบ
ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดมีกาบ ออกบริเวณซอกใบ ดอกสีขาว
การปลูกเลี้ยง
ดินร่วนระบายน้ำดี ต้องการน้ำปริมาณมาก แสงแดดรำไร
การขยาย พั น ธุ์
เwาะเมล็ด ตอนกิ่ง ปักชำลำต้น แยกหน่อ
อโกลนีมา – เงินเต็มบ้าน
เป็นพืชตระกูลอโลนีมา ขนาดต้นใหญ่ ที่มีใบลักษณะหนาสีเขียวมรกตดูคล้ายหยก เป็นไม้ ม ง ค ล มีความเชื่อเรียกเงินทองแก่ผู้ปลูก ชอบอยู่ที่รำไร ไม่ต้องการน้ำมาก
อโกลนีมา – เลกาซี่
พืชในสะกุลอโกลนีมา ที่ใบเป็นรูปรีแผ่นหนา สีเขียวปนด่างเทา โดยมีเส้นกลางใบสีชมพูเข้ม เป็นไม้ชนิดรำไร ไม่ต้องการน้ามาก
อโกลนีมา – ทองพันช่าง
อโกลนีมา – เพชรน้ำหนึ่ง
หนึ่งใน แก้วกาญจนา ประเภท ลูกผสมโพธิ์สัตว์ โพธิ์นำเงิน ที่ลำต้นไม่เลื้อย หรือ อโกลนีมา (Aglaonema) เป็นไม้ประดับที่มีความสวยงามที่ใบ
การปลูกเลี้ยงและการใช้ประโยชน์
การปลูกเลี้ยง
ดินร่วนระบายน้ำดี ต้องการน้ำปริมาณมาก แสงแดดรำไร
การขยาย พั น ธุ์
เwาะเมล็ด ตอนกิ่ง ปักชำลำต้น แยกหน่อ
แหล่งที่มา : tkvariety.com
เรียบเรียงโดย ปริญญาชีวิต